Unseen Japan สัมผัสมนต์เสน่ห์แห่งฤดูหนาวของเมืองมัตสึโมโตะ 2 วัน 1 คืน

เกร็ดความรู้ภาษาญี่ปุ่น "ยุคเซ็นโกคุ"

บริการนี้รวมโฆษณาที่ได้รับการสนับสนุน
article thumbnail image

「ยุคสงครามกลางเมือง 」 ในประวัติศาสตร์อันยาวนานของญี่ปุ่น ได้รับความนิยมอย่างมากจากบรรดาเเฟนคลับประวัติศาสตร์ ในประเทศญี่ปุ่นมีสงครามอย่างกว้างขวาง เป็นยุคของสงคราม ในทางกลับกันในยุคสงครามกลางเมือง ก็ยังถือกำเนิดวัฒนธรรมญี่ปุ่นอย่างพิธีชงชา เราจะมาอธิบายข

บทความโดย

นี่คือบัญชีของกองบรรณาธิการ MATCHA เราจะเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่นที่นักท่องเที่ยวอยากรู้ รวมถึงเสน่ห์ที่ซ่อนอยู่ของญี่ปุ่นที่ยังไม่มีใครรู้จัก

more

ในโลกของประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นจะได้รับการจำแนกประวัติศาสตร์ของญี่ปุ่นออกเป็นยุคต่างๆ
ยุคมุโระมะจิของเกียวโต ยุคมุโระมะจิระบอบการปกครองโดยซามูไรได้ถูกวางรากฐานไว้ ยุคเอโดะ(ปัจจุบันคือโตเกียว)
ได้มีการระบอบการปกครองเอโดะเป็นต้น ยุคต่างๆนั้นส่วนใหญ่มีที่มาจากชื่อของสถานที่

ในการเเบ่งยุคของญี่ปุ่นนั้น มี「ยุคเซ็งโงะกุ (ยุคสงครามกลางเมือง)」「ยุคเซ็งโงะกุ」คือ「การสู้รบกันในประเทศ」ต้นกำเนิดมาจากสงครามภายในประเทศจีน
ตามชื่อที่กล่าวมา ยุคเซ็งโงะกุนั้นเเทบจะนึกบรรยากาศของญี่ปุ่นที่เงียบสงบดังเช่นปัจจุบันนี้ไม่ออก เป็นยุคที่ทั่วดินเเดนญี่ปุ่นมีการต่อสู้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง

ยุคเซ็งโงะกุคืออะไร

เกี่ยวกับช่วงเวลานั้นมีอยู่หลายทฤษฎี ไม่ว่ากรณีไหนก็มีคาบเกี่ยวช่วงเวลาเเละยุคก่อนหลัง ยุคมุโระมะจิ (ปี1338〜ปี1573)จากปลายสมัยถึงยุคเอโดะ(ปี1603〜ปี1868)จากช่วงต้นสมัยมักถูกเรียกว่ายุคเซ็งโงะกุซะส่วนใหญ่
ญี่ปุ่นในสมัยนั้น พื้นที่ประเทศถูกเเบ่งเป็นหน่วยย่อยเรียกว่า「คุนิ(สมัยนี้เรียกว่าจังหวัด)」「ชูโกะไดเมียว」ปกครองคุนิต่างๆ ชนชั้นล่างลงมาคือ「ชูโกะได(ชูโกะได:ตัวเเทนของไดเมียว),โคคุจิน(หรือ คุนิบิโทะ:ซามูไรชั้นสูง)」จะได้รับการแต่งตั้งจากบะกุฮุ(บะกุฮุ:ค่ายทหารในสมัยนั้น) ให้ปฎิบัติตาม

เมื่อกลางศตวรรษที่15 อำนาจของบะกุฮุเริ่มถดถอย ชูโกะไดเมียวเเละชูโกะได โคคุจิน ตะเวนขยายดินแดนและปกครองของคุนิ(จังหวัด)ไปทั่ว เริ่มต่อสู้กับคุนิอื่นๆ ในยุคที่ความขัดแย้งในประเทศดังกล่าวเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เราเรียกว่ายุคเซ็งโงะกุ (ยุคสงครามกลางเมือง)

ยุคเซ็งโงะกุที่วุ่นวายเเละการปรากฎตัวของวีรบุรุษ

日本のことば事典「戦国時代」

photo by Pixta

ยุคสงครามกลางเมืองมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงฐานอำนาจในประเทศมากที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
ผู้มีอำนาจใหม่ที่มาครอบครองคุนิหรือดินแดนถูกเรียกว่า「เซนโกะคุไดเมียว」「เซนโกะคุบุโชว」ฯลฯพระเอกที่ปรากฏตัวในยุคนี้คือโอดะโนะบุนะกะ ,โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ ,โทะคุงะวะ อิเอะยะสึ มีชื่อเสียงมาก

เด็กญี่ปุ่นจะเริ่มเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นตั้งเเต่ชั้นประถม
คนจำนวนมากชื่นชอบยุคนี้ ยุคเซ็งโกะคุที่เป็นรูปแบบบทความ เกมส์ ละคร ฯลฯ เป็นที่นิยมมากทั้งเด็กและผู้ใหญ่

วัฒนธรรมและสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าแนะนำของยุคสงครามกลางเมือง

日本のことば事典「戦国時代」

photo by Pixta

เเม้เเต่ในช่วงสงครามวัฒนธรรมก็มีการพัฒนามาเรื่อยๆ "พิธีชงชา"ของประเทศญี่ปุ่นได้สมบูรณ์เเบบในยุคนี้
ได้รวบรวมวัสดุจำนวนมากที่เกี่ยวข้องกับพิธีชงชา 「พิพิธภัณฑ์พิธีชงชา(ซะโดชิเรียวคัง)」เเละ「พิพิธภัณฑ์ระคุบิ」สถานที่ทั้งสองได้รับความนิยมจากนักท่องเที่ยวอยู่ที่จังหวัดเกียวโต

ยุคสงครามกลางเมืองคือ「ยุคแห่งการค้นพบ」มีการเเพร่หลายของวัฒนธรรมนันบัง(วัฒนธรรมตะวันตก)ศาสนาคริสต์เข้ามาเผยเเพร่สู่ญี่ปุ่นในช่วงนี้ ที่「เดะจิมะ(dejima)」ของนางาซากิ แม้ตอนนี้เพื่อนๆก็ยังสามารถที่จะเห็นวัฒนธรรมตะวันตกของญี่ปุ่นในยุคนี้ได้ไม่ยากค่ะ
นอกจากนี้ ศาลเจ้าที่บวงสรวงเหล่าซามูไรสมัยก่อนก็ยังเป็นที่นิยม เซ่นไหว้โอะดะโนะบุนะกะที่「ศาลเจ้าเคนคุน」ในเกียวโต ,โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิที่「ศาลเจ้าโฮโคะคุ」ในโอซาก้า, โทะกุงะวะ อิเอะยะสึ
ที่「ศาลเจ้านิกโก้โทโชกู」ในจังหวัดโทะชิกิ

日本のことば事典「戦国時代」

photo by Pixta
สุดท้ายนี้ ที่ขาดไม่ได้เลยเห็นจะเป็นปราสาทของญี่ปุ่น โอะดะโนะบุนะกะสร้าง「ปราสาทกิฟุ」เเละโทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิสร้าง「ปราสาทโอซาก้า」ปราสาทฮิเมะจิไม่ได้นิยมกันเเต่ในกลุ่มนักท่องเที่ยวนะค่ะชาวญี่ปุ่นเองก็มักจะมาเยื่ยมชมเป็นประจำ ตอนที่ไปเที่ยวญี่ปุ่นอย่าลืมไปชมนะค่ะ

Main image by Pixta

บทความโดย

MATCHA

นี่คือบัญชีของกองบรรณาธิการ MATCHA เราจะเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับประเทศญี่ปุ่นที่นักท่องเที่ยวอยากรู้ รวมถึงเสน่ห์ที่ซ่อนอยู่ของญี่ปุ่นที่ยังไม่มีใครรู้จัก

more
เนื้อหาในบทความนี้อ้างอิงจากการเก็บข้อมูลในช่วงเวลาที่เขียนบทความ อาจมีการเปลี่ยนแปลงของรายละเอียดสินค้า บริการ ราคาในภายหลังได้ กรุณาตรวจสอบกับสถานที่นั้นอีกครั้งก่อนการไปใช้บริการ
นอกจากนี้ บทความอาจมีลิงก์โฆษณา โปรดพิจารณาอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจซื้อหรือจอง

อันดับ

ไม่พบบทความ